วันพุธที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ก้างปลา ติดคอ


ใครที่เคยมีประสบการณ์        
ก้างปลา” ติดคอ คงจะรู้ซึ้งถึงความเจ็บปวดเป็นอย่างดี ว่าการกลืนไม่เข้าคายไม่ออก เป็นอย่างไร แค่จะกลืนน้ำลายตัวเองสุดแสนจะทรมาน บางรายโชคดี ใช้วิธีดื่มน้ำเยอะ ๆ หรือ กลืนข้าวคำโต ๆ แล้วได้ผล แต่หลายคนใช้สารพัดวิธีก็ไม่หาย สุดท้ายต้องโร่ไปให้หมอช่วยเอาออกก็เยอะ

ดังนั้นเพื่อให้ผู้อ่านได้รับทราบข้อมูลในเรื่องนี้ ผู้เขียนจึงมาสัมภาษณ์ ผศ.นพ.ปารยะ อาศนะเสน สาขาโรคจมูกและโรคภูมิแพ้ ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล



ผศ.นพ.ปารยะ อธิบายว่า ก้างปลาติดคอพบได้ทุกช่วงอายุ ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาว่าเป็นช่วงอายุใดมากที่สุด และเป็นก้างปลาชนิดใดมากที่สุด แต่จากประสบการณ์ที่เจอมักจะเป็นปลาทู คงเป็นเพราะประชาชนนิยมบริโภคมากก็เป็นได้ ปลาอื่น ๆ ก็มีมาให้เห็นเหมือนกันแต่ค่อนข้างน้อย

คนไข้ที่มาหาหมอส่วนมาก ก้างปลาติดคอมา 2-3 วันแล้ว ที่ติดคอปุ๊บมาหาหมอทันทีจะน้อย ส่วนใหญ่จะรู้วิธีว่า ต้องดื่มน้ำมาก ๆ หรือกลืนข้าวคำโต ๆ ในบางรายก็ใช้ได้ผล เนื่องจากก้างปลาปักอยู่บริเวณตื้น ๆ พอกลืนข้าวก้างก็ติดลงไปกระเพาะ อาหาร สามารถขับถ่ายออกมาทางอุจจาระ แต่ถ้าก้างปักลึก การกลืนข้าวคำโต ๆ อาจไปกดก้างให้ปักลึกกว่าเดิม ดังนั้นในรายที่อาการไม่ดีขึ้นจึงมาหาหมอ
เราไม่เคยนับสถิติจำนวนคนไข้ในแต่ละปี แต่ที่ รพ.ศิริราช น่าจะมีคนไข้ประมาณ 2-3 รายต่อวัน ส่วนใหญ่มักจะมาตอนกลางคืนที่แผนกอุบัติเหตุ หมอทั่วไปตรวจดูแล้วไม่พบก้างปลา ก็จะมาปรึกษาหมอหู คอ จมูก
อาการคนไข้ก้างปลาติดคอ คือ เจ็บคอ กลืนน้ำลายแล้วเจ็บ ส่วนใหญ่คนไข้จะชี้บอกได้เลยว่า เจ็บตรงไหน บวกกับการซักประวัติ ว่าไปทานแกงปลา ปลาทอด กลืนน้ำลายก็เจ็บทุกครั้ง อันนี้เป็นครูที่จะบอกว่ามีปัญหาก้างปลาติดคอ
คนไข้บางรายปล่อยทิ้งไว้นาน อาจมาด้วยอาการอักเสบ ติดเชื้อ มีหนอง ในช่องคอ โดยเฉพาะถ้าก้างปลาติดที่หลอดอาหาร ทิ้งไว้นาน ๆ ไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจจะทำให้เกิดการอักเสบที่ผนังของหลอดอาหาร จนเกิดการทะลุของหลอดอาหาร เกิดการอักเสบติดเชื้อในช่องเยื่อหุ้มระหว่างหัวใจและช่องปอดได้ แต่พบได้น้อย

ตำแหน่งที่พบก้างปลาติดบ่อย คือ บริเวณต่อมทอนซิล บริเวณโคนลิ้น บริเวณฝาปิดกล่องเสียง บริเวณใกล้หลอดรูเปิดทางเดินอาหาร แพทย์หู คอ จมูก จะใช้กระจกเล็ก ๆ เหมือนกับหมอฟัน สวมเฮดไลต์ ที่ศีรษะ ส่องตรวจดู ส่วนใหญ่จะเจอ ก็ใช้อุปกรณ์คีบออกมา
ในบางรายก้างปลาอยู่ลึก คนไข้อาเจียนง่าย ไม่สามารถเอาก้างออกได้ จะพ่นยาชา ทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที แล้วพยายามอีกที ถ้าไม่ไหวจริง ๆ ทำอย่างไรก็ไม่ออก อาจต้องดมยาสลบ ให้คนไข้นอนแล้วลองดูอีกที แต่ส่วนใหญ่จะสามารถเอาก้างออกได้ที่ห้องตรวจเลย ที่ต้องดมยาสลบมีน้อยรายมาก

ก้างปลาติดคอทำให้เสียชีวิตได้หรือไม่? ผศ.นพ.ปารยะ กล่าวว่า ส่วนตัวยังไม่เคยเจอ ที่เจอมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง คือ เจอปักอยู่ที่หลอดอาหารแล้วทะลุออกมาที่คอ เนื่องจากก้างปลาเป็นวัสดุแปลกปลอม ร่างกายจะผลักมันออกมา บางคนทะลุหลอดอาหารมาถึงผิวหนังที่คอก็มี


มีคำแนะนำให้ฝานมะนาวเป็นชิ้น ๆ นำมาอม หรือ บีบน้ำมะนาวลงคอ? ผศ.นพ.ปารยะ กล่าวว่า สมัยก่อนเชื่อว่ามะนาวจะทำให้ก้างอ่อนลง แต่ยังไม่มีหลักฐานยืนยัน ก็พูดลำบาก เพราะถ้าก้างปลามีแคลเซียมเยอะ ก็คงยากที่มะนาวจะกัดกร่อนหรือสลายไปได้

ท้ายนี้ขอแนะนำว่า การกินปลาทุกครั้งควรมีสติ คือ เอาก้างออกก่อน แล้วกินช้า ๆ ค่อย ๆ เคี้ยว ค่อย ๆ กลืน เพราะจากที่เคยสอบถามคนไข้ส่วนใหญ่ มักจะกินไปคุยไป ไม่ทันได้ดูว่าปลาที่ตักใส่ปากมีก้างหรือไม่ พอรีบเคี้ยวรีบกลืนก็เลยทำให้ก้างติดคอ.



+แมวกินปลา ทำไมก้างปลาไม่ติดคอ

วันพุธที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

ก้างปลา ติดคอ ทำไงดี ?







ใครที่เคยมีประสบการณ์ “ก้างปลา” ติดคอ คงจะรู้ซึ้งถึงความเจ็บปวดเป็นอย่างดี ว่า การกลืนไม่เข้าคายไม่ออก เป็นอย่างไร แค่จะกลืนน้ำลายตัวเองสุดแสนจะทรมาน บางรายโชคดี ใช้วิธีดื่มน้ำเยอะ ๆ หรือ กลืนข้าวคำโต ๆ แล้วได้ผล แต่หลายคนใช้สารพัดวิธีก็ไม่หาย สุดท้ายต้องโร่ไปให้หมอช่วยเอาออกก็เยอะ
ดังนั้นเพื่อให้ผู้อ่านได้รับทราบข้อมูลในเรื่องนี้ ผู้เขียนจึงมาสัมภาษณ์ ผศ.นพ.ปารยะ อาศนะเสน สาขาโรคจมูกและโรคภูมิแพ้ ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ผศ. นพ.ปารยะ อธิบาย ว่า ก้างปลาติดคอพบได้ทุกช่วงอายุ ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาว่าเป็นช่วงอายุใดมากที่สุด และเป็นก้างปลาชนิดใดมากที่สุด แต่จากประสบการณ์ที่เจอมักจะเป็นปลาทู คงเป็นเพราะประชาชนนิยมบริโภคมากก็เป็นได้ ปลาอื่น ๆ ก็มีมาให้เห็นเหมือนกันแต่ค่อนข้างน้อย

คนไข้ที่มาหาหมอส่วน มาก ก้างปลาติดคอมา 2-3 วันแล้ว ที่ติดคอปุ๊บมาหาหมอทันทีจะน้อย ส่วนใหญ่จะรู้วิธีว่า ต้องดื่มน้ำมาก ๆ หรือกลืนข้าวคำโต ๆ ในบางรายก็ใช้ได้ผล เนื่องจากก้างปลาปักอยู่บริเวณตื้น ๆ พอกลืนข้าวก้างก็ติดลงไปกระเพาะ อาหาร สามารถขับถ่ายออกมาทางอุจจาระ แต่ถ้าก้างปักลึก การกลืนข้าวคำโต ๆ อาจไปกดก้างให้ปักลึกกว่าเดิม ดังนั้นในรายที่อาการไม่ดีขึ้นจึงมาหาหมอ

เราไม่เคยนับสถิติ จำนวนคนไข้ในแต่ละปี แต่ที่ รพ.ศิริราช น่าจะมีคนไข้ประมาณ 2-3 รายต่อวัน ส่วนใหญ่มักจะมาตอนกลางคืนที่แผนกอุบัติเหตุ หมอทั่วไปตรวจดูแล้วไม่พบก้างปลา ก็จะมาปรึกษาหมอหู คอ จมูก

อาการ คนไข้ก้างปลาติดคอ คือ เจ็บคอ กลืนน้ำลายแล้วเจ็บ ส่วนใหญ่คนไข้จะชี้บอกได้เลยว่า เจ็บตรงไหน บวกกับการซักประวัติ ว่าไปทานแกงปลา ปลาทอด กลืนน้ำลายก็เจ็บทุกครั้ง อันนี้เป็นครูที่จะบอกว่ามีปัญหาก้างปลาติดคอ

คนไข้บางรายปล่อย ทิ้งไว้นาน อาจมาด้วยอาการอักเสบ ติดเชื้อ มีหนอง ในช่องคอ โดยเฉพาะถ้าก้างปลาติดที่หลอดอาหาร ทิ้งไว้นาน ๆ ไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจจะทำให้เกิดการอักเสบที่ผนังของหลอดอาหาร จนเกิดการทะลุของหลอดอาหาร เกิดการอักเสบติดเชื้อในช่องเยื่อหุ้มระหว่างหัวใจและช่องปอดได้ แต่พบได้น้อย

ตำแหน่งที่พบก้างปลาติดบ่อย คือ บริเวณต่อมทอนซิล บริเวณโคนลิ้น บริเวณฝาปิดกล่องเสียง บริเวณใกล้หลอดรูเปิดทางเดินอาหาร แพทย์หู คอ จมูก จะใช้กระจกเล็ก ๆ เหมือนกับหมอฟัน สวมเฮดไลต์ ที่ศีรษะ ส่องตรวจดู ส่วนใหญ่จะเจอ ก็ใช้อุปกรณ์คีบออกมา

ในบางรายก้างปลา อยู่ลึก คนไข้อาเจียนง่าย ไม่สามารถเอาก้างออกได้ จะพ่นยาชา ทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที แล้วพยายามอีกที ถ้าไม่ไหวจริง ๆ ทำอย่างไรก็ไม่ออก อาจต้องดมยาสลบ ให้คนไข้นอนแล้วลองดูอีกที แต่ส่วนใหญ่จะสามารถเอาก้างออกได้ที่ห้องตรวจเลย ที่ต้องดมยาสลบมีน้อยรายมาก

ก้างปลาติดคอทำให้เสียชีวิตได้หรือไม่ ? ผศ.นพ.ปารยะ กล่าวว่า ส่วนตัวยังไม่เคยเจอ ที่เจอมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง คือ เจอปักอยู่ที่หลอด

อาหารแล้วทะลุออกมาที่คอ เนื่องจากก้างปลาเป็นวัสดุแปลกปลอม ร่างกายจะผลักมันออกมา บางคนทะลุหลอดอาหารมาถึงผิวหนังที่คอก็มี

มีคำแนะนำให้ฝานมะนาวเป็นชิ้น ๆ นำมาอม หรือ บีบน้ำมะนาวลงคอ ? ผศ.นพ.ปารยะ กล่าวว่า สมัยก่อนเชื่อว่ามะนาวจะทำให้ก้างอ่อนลง แต่ยังไม่มีหลักฐานยืนยัน ก็พูดลำบาก เพราะถ้าก้างปลามีแคลเซียมเยอะ ก็คงยากที่มะนาวจะกัดกร่อนหรือสลายไปได้

ท้ายนี้ขอแนะนำว่า การกินปลาทุกครั้งควรมีสติ คือ เอาก้างออกก่อน แล้วกินช้า ๆ ค่อย ๆ เคี้ยว ค่อย ๆ กลืน เพราะจากที่เคยสอบถามคนไข้ส่วนใหญ่ มักจะกินไปคุยไป ไม่ทันได้ดูว่าปลาที่ตักใส่ปากมีก้างหรือไม่ พอรีบเคี้ยวรีบกลืนก็เลยทำให้ก้างติดคอ.
บันทึก #2 9 ธ.ค. 2552, 22:45:38
อ้างอิง...http://campus.sanook.com/teen_zone/senior_05892.php
บันทึก #3 9 ธ.ค. 2552, 22:51:06
ตอนเด็กๆ ผมเคยกระดูกเป็ดติดคอ แม่พาไปหาหมอ โดนด่าเละเลย การกินก็ต้องมีสติเช่นกัน ^^


วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

วิธีแก้ก้างปลาติดคอ


 




  1.บีบมะนาวลงคอ หรือฝานมะนาวเป็นชิ้น แล้วนำมาอมจนหมดรสเปรี้ยว ทำซ้ำ 2-3 ครั้ง เชื่อว่ากรดมะนาวจะทำให้ก้างปลานุ่มลงได้


   2.นำเมล็ดและรากของต้นเทียน ซึ่งโบราณระบุว่ามีสรรพคุณสลายกระดูก นำมาตำให้ละเอียดแล้วกลืน (แต่ต้องระวังอย่าให้โดนฟันและห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์)


   3.ปั้นข้าวสุกอุ่นๆ โตประมาณหัวแม่เท้า (ไม่ใช่ปั้นด้วยหัวแม่เท้านะครับ...ฮา) ปั้นให้แน่นๆ แล้วกลืนลงไปทั้งก้อนโดยไม่ต้องเคี้ยว ก้อนข้าวจะพาก้างที่ติดคอลงไป ถ้าก้อนแรกไม่หาย ให้ลองอีก 2 ก้อน (แต่ไม่ได้บอกต่อว่าถ้าก้อนที่ 3 ไม่หายต้องทำไงต่อแฮะ)




        * ทั้ง 3 วิธี ล้วนแล้วแต่เป็นการปฏิบัติที่บอกเล่าสืบต่อกันมา ปากต่อปาก ยังไม่ได้รับการรับรองผลหรือพิสูจน์ทางการแพทย์แต่อย่างใดนะครับ อย่างไรก็ตามแพทย์หู-คอ-จมูกบางท่านยังมีความเห็นขัดแย้งว่าการกลืนก้อนข้าวคำใหญ่ๆนั้น อาจยิ่งทำให้ก้างตำลึกลงไปในเนื้อเยื่อได้มากขึ้น ถ้าติดอยู่นานวันเข้าอาจทำให้มีอาการอักเสบติดเชื่อเป็นหนองได้  ส่วนการใช้น้ำมะนาวหรือมะนาวผ่าซีกเพื่อสลายก้างปลานั้น ก็ยังมีผู้โต้แย้งว่า ก้างปลาเป็นกระดูกแข็งมีส่วนประกอบหลักเป็น"แคลเซียม" ซึ่งไม่สามารถทำให้อ่อนนิ่มหรือย่อยสลายได้ด้วยกรดผลไม้





         ความเห็นส่วนตัว คิดว่าลถ้าเป็นก้างปลาขนาดเล็กๆ ลองวิธีโบราณดูไม่น่าเสียหาย ดีกว่าไม่ได้ทำอะไรครับ เพราะหลายๆครั้งที่ก้างปลาติดคอผมก็ลองใช้วิธีที่ 1 กับวิธีที่ 3 บางครั้งก็ได้ผล แต่บางครั้งเวลาผ่านไป 2-3 วัน อาการปวดมันก็หายไปเองได้ ผมเชื่อว่าเป็นเพราะร่างกายของเราวมันมีวิธีจัดการกับสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาได้เสมอ แต่ถ้าก้างปลาขนาดใหญ่มีอาการเจ็บมากจริงๆ ก็ควรไปพบแพทย์จะดีกว่าครับ



โดย เภสัชป้อม

วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2556

Tips to Remove a Fish Bone that’s Stuck in Your Throat


The situation that you just described is quite common with people who like eating fish. This can be a painful situation if it is not resolved quickly. What must have happened is that while the bone was in your throat, the throat muscles might have contracted and the bone stabbed the walls at that time. Another possibility is that it might be lodged somewhere in the back of the mouth.
Firstly, you need to eliminate the possibility that it is somewhere in the back of your mouth by taking a flashlight, opening your mouth as wide as possible. If the bone can be seen then this is a good sign. To take it out though might be a different issue, because the only instrument that is capable of doing this is a surgical clamp or forceps, or a pair of long tweezers. These are generally not items that you keep around in your first aid kit so visit an emergency room immediately. If it is stuck in any other area, you can just pull it out if it is within your reach.
The other possibility is that the bone has been lodged inside your throat just above your food pipe, in this situation things could get a bit more complicated and may elicit a minor surgery. In the meantime, there is a technique that could be useful. Using the same mechanism that got you into trouble in the first place, you need to swallow some “hard” food. Hard food would basically mean something that you can swallow without having to degrade its structure by chewing it to a pulp. The idea is that the food while going down in the peristaltic motion, latches on to the fishbone and pulls it out. This is effective in theory and sometimes effective in practice as well. A prime form of hard food of type would be flat bread like tortilla bread. This has to be swallowed with minimum chewing and takes a bit of effort as you are fighting against the instinct to chew. Swallow as hard as you can and keep repeating this until you feel that the obstruction is gone. If not, again your only hope is the emergency room; otherwise, you stand the risk of an infection. This could mean that a minor surgery would have to be conducted anyway. For a doctor, the procedure to remove the bone would be to do an endoscopic probe to find the bone and then remove it out, in the same procedure.

วันเสาร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2556

Fish Bone Stuck In Throat, How To Solve It?






Fish bone Stuck in Throat – Going fishing is a hobby that many people like to do. But after fishing, eating it is what people love more. While eating fish, it is very possible that people will get afish bone stuck in throat. When you get a fish bone stuck in throat, it will all itchy and uncomfortable. If you are lucky, you can get it out by drinking water for many times. But some people prefer to get the fish bone out. However, the truth is there is no medical treatment for fish bone ingestion. Usually a doctor will use a certain equipment to remove the fish bone stuck in throat.






Removing Fish Bone Stuck In Throat

Removing a fish bone stuck in throat is not that hard, as long as you haven’t swallowed it. The best way to remove the fish bone stuck in throat is by opening your mouth very wide and throat in front of a mirror. It may be hard, but by pressing your tongue down you may be able to see the fish bone stuck in throat. Try not to swallow the fish bone, although it can tear the esophagus down. But this way the doctor can remove the fish bone stuck in throat. If you have swallowed it, eat a lot of bread, oats or other foods that contain a high amount of fiber so that the passage of the fish bones in the body can become easier. Or you can also drink plenty of water to help ease the transition.

If you get a fish bone stuck in throat and it hard to remove it, it is important that you immediately check it to a doctor. There is a big possibility that your throat is injured, therefore you need to get an anti-inflammatory or anti-ulcer to cure it. Sometimes the fish bone stuck in throat is very thin and you can’t see it by your eyes. If this happen, then you will have to go through a fiber scope test. The fish bone stuck in throat is not a big problem, but it can danger your throat if you don’t remove it. Therefore it is very important that people be careful when they eat, so that they don’t get a fish bone stuck in throat.

Effective home remedies to remove fish bone stuck in throat quickly

Effective home remedies to remove fish bone stuck in throat quickly





This must be one of the most common problems faced by people who love eating fish. After all we eat them depending on their taste and not the bone. The phenomenon of bone struck in throat is actually caused by the contraction of wall muscles of the throat which caused the bone to get stabbed into it.

The discomfort caused by it is a lot. Person will feel irritated throughout and may even feel like vomiting. Sometimes you may not feel it while normal talking but when using certain phrase or words it hurts. Here in this article, I have tried to describe certain steps to get rid of such a horrific situation.

But remember, all these methods to be tried out only if there is no bleeding and the pain is bearable. Otherwise a doctor’s advice is the best way. But if things are under control, I suggest using these methods one by one or multiple times to get rid of that bone from your throat.

  • The first common method is obviously examining the exact location of the problem. Standing in front of a mirror or getting some help will do. Using a flashlight try to find the bone if possible. Most of the time, it may not be possible as it might have gone much below the throat.
  • The Second method is another common one where you have to drink lots of water and preferable with a pinch of salt added to it. Most of the small fish bones will get dislodged from throat and will reach your stomach.
  • The third method is quite common in Asian countries where people swallow some “solid food” to get rid of it. The solid food generally is a small ball shaped boiled rice, banana or bread. This causes the fish bone to get struck with the solid food and then it moves down to your stomach. But do not forget to drink a glass of water after that.
  • The forth method is a common one use is China, where people drink diluted Vinegar. Vinegar will soften the fish bone and thus it becomes very easy to dislodge it from your throat. But medically it is not an effective method as the amount of acetic acid is too small in vinegar to soften the bone.
  • Fifth method is the “old wives tale” where people drink orange juice or lemon juice to remove fish bone. The citric acid is believed to do the same trick of softening the bone.
  • Another method followed in some countries to get rid of fishbone is to drink some olive oil. This will help the bone to slide down the throat as well as you will feel relieved by the soothing effect of olive oil in the minor cuts in your throat caused by the bone.
  • Lastly the “modern method” will consist of drinking some coke. Coke will exactly do the same thing as suggested in the above two methods, i.e. softening the bone.





It is also believed that there are some very effective homeo medicines to get rid of foreign particles from your body. Medicines like Hepar Sulph or Silica 200 are really effective in this case.
At the same time, there are some suggestions regarding what not to be done during such a case. Avoid coughing or straining your throat as it might pierce the bone further into esophagus.
Moreover do not try to push or massage the throat externally with your hand as the fish bone can get jammed.
Fish bone struck in your throat is really irritating and causes a lot of discomfort. And you may even forget the taste of the lovely fish fry or curry that you just had. I have seen lots of waiters in restaurant providing quick fix step under such circumstances.